วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2552

โปรแกรมเชิงวัตถุ 1

วันอาทิตย์, ตุลาคม 11, 2009

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติ หลักการเขียนโปรแกรมในลักษณะ GUI (Graphic User Interface ) การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษาที่ทำงานภายใต้ Window Visual Basic, Delphi ,Visual C++ เพื่อให้รู้จักการกำหนดคุณสมบัติ(Property)Method การโปรแกรมคำสั่งตามเหตุการณ์ (Event-Driver Programming) class and objects การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
เขียนโดย Chanpen Ngamprom ที่ 4:58 ก่อนเที่ยง 0 ความคิดเห็น

จุดประสงค์รายวิชา
1.เพื่อให้เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมในลักษณะ GUI (Graphic User Interface)2.เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบการเขียนโปรแกรมทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ Window3.เพื่อให้สามารถคอมไพล์ (Compile) Debug และการทดสอบใช้งานโปรแกรมที่เขียน4.เพื่อให้สามารถใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานภายในระบบปฏิบัติการ Window มาประยุกต์เขียนโปรแกรมใช้งานเบื้องต้น5.เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัย ตระหนักถึงคุณภาพของงานและมีจิริยธรรมในงานอาชีพสมรรถนะงานอาชีพ (อาชีพที่ทำได้จากการเรียนรายวิชานี้ระบุเพียง 1 อาชีพ)-โปรแกรมเมอร์
เขียนโดย Chanpen Ngamprom ที่ 4:56 ก่อนเที่ยง 0 ความคิดเห็น

การวัดผลและประเมินผล
ใช้เกณฑ์การวัดตามกำหนดของวิทยาลัย การวัดผล(100%)1.พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 20 %2.พิจารณาจากใบงาน 20 %3.พิจารณาจากกิจนิสัย ความสนใจ ,ความรับผิดชอบ และการเข้าร่วมกิจกรรม 20 %4.การสอบภาคทฤษฎีและการสอบปฏิบัติ 40 %
เขียนโดย Chanpen Ngamprom ที่ 4:54 ก่อนเที่ยง 0 ความคิดเห็น

รายการสอน
สัปดาห์ที่ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน1 1 รู้จักภาษา C และเทอร์โบซี2 2 องค์ประกอบภาษา ซี3 3 เครื่องหมายดำเนินการและนิพจน์4 4 คำสั่งภาษา ซี5-7 5 คำสั่งควบคุม8 สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 19-11 6 ตัวแปรชุดและพอยน์เตอร์12-14 7 ฟังก์ชัน และข้อมูลชนิดโครงสร้าง15-17 8 พรีโปรเซสเซอร์และแฟ้มข้อมูล18 สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2
เขียนโดย Chanpen Ngamprom ที่ 4:48 ก่อนเที่ยง 0 ความคิดเห็น
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)
เกี่ยวกับฉัน

Chanpen Ngamprom
การศึกษา :ปัจจุบันศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงครามDo it at Local : ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

ผู้ติดตาม
if (!window.google !google.friendconnect) {
document.write('' +
'');
}

if (!window.registeredBloggerCallbacks) {
window.registeredBloggerCallbacks = true;


var registeredGadgets = [];
gadgets.rpc.register('registerGadgetForRpcs', function(gadgetDomain, iframeName) {
// Trim the gadget domain from a random url (w/ query params)
// down to just a top level domain.
var startIndex = 0;
var protocolMarker = "://";
// Find the start of the host name
if (gadgetDomain.indexOf(protocolMarker) != -1) {
startIndex = gadgetDomain.indexOf(protocolMarker) + protocolMarker.length;
}
// Now find the start of the path
var pathIndex = gadgetDomain.indexOf("/", startIndex);
// Now extract just the hostname
if (pathIndex != -1) {
gadgetDomain = gadgetDomain.substring(0, pathIndex);
}
gadgets.rpc.setRelayUrl(iframeName, gadgetDomain + "/ps/rpc_relay.html");
// Just return some random stuff so the gadget can tell when
// we're done.
return "callback";
});

gadgets.rpc.register('getBlogUrls', function() {
var holder = {};




holder.postFeed = "http://www.blogger.com/feeds/4647943965004099353/posts/default";



holder.commentFeed = "http://www.blogger.com/feeds/4647943965004099353/comments/default";


return holder;
});

gadgets.rpc.register('requestReload', function() {
document.location.reload();
});

gadgets.rpc.register('requestSignOut', function(siteId) {

google.friendconnect.container.openSocialSiteId = siteId;
google.friendconnect.requestSignOut();
});
}

var skin = {};
skin['FACE_SIZE'] = '32';
skin['HEIGHT'] = "260";
skin['TITLE'] = "\u0e1c\u0e39\u0e49\u0e15\u0e34\u0e14\u0e15\u0e32\u0e21";
skin['BORDER_COLOR'] = "transparent";
skin['ENDCAP_BG_COLOR'] = "transparent";
skin['ENDCAP_TEXT_COLOR'] = "#555544";
skin['ENDCAP_LINK_COLOR'] = "#000000";
skin['ALTERNATE_BG_COLOR'] = "transparent";

skin['CONTENT_BG_COLOR'] = "transparent";
skin['CONTENT_LINK_COLOR'] = "#000000";
skin['CONTENT_TEXT_COLOR'] = "#555544";
skin['CONTENT_SECONDARY_LINK_COLOR'] = "#FFFFFF";
skin['CONTENT_SECONDARY_TEXT_COLOR'] = "#000000";
skin['CONTENT_HEADLINE_COLOR'] = "#000000";
skin['FONT_FACE'] = "normal normal 100% tahoma, \x27Trebuchet MS\x27, lucida, helvetica, sans-serif";
google.friendconnect.container.setParentUrl("/");
google.friendconnect.container["renderMembersGadget"](
{id: "div-16lulmzdb13rp",
height: 260,



site: "17070611810495014366",

locale: 'th' },
skin);


คลังบทความของบล็อก
2009 (4)
ตุลาคม (4)
คำอธิบายรายวิชา
จุดประสงค์รายวิชา
การวัดผลและประเมินผล
รายการสอน

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

5Q

1) IQ (Intelligence Quotient ) การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกรบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง2) EQ (Emotion Quatient) การพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์
3)TQ (Technology Quotient) การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆให้เหมาะสมกับความต้องการ
4) AQ (Adversity Quotient) การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสภาพปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้
5) MQ(Morality Quotient) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงาม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคม ความรู้ (Knowledge -based sociaty ) ได้เป็นอย่างดี

วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552

4 มิ.ย. 2552

ประวัติภาษาซี

ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร

ภาษาซีเป็นภาษาที่มีลักษณะเด่นพอสรุปได้ดังนี้
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทำงานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสำคัญ
- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทำงานเหมือนภาษาระดับต่ำ
- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสำหรับการพัฒนา
- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทำให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการเขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้

ลักษณะด้อยของภาษาซี
ภาษา C ไม่มีตัวจัดการจองหน่วยความจำในตัวเอง เมื่อเวลาเราต้องการจองหน่วยความจำแบบ Dynamic ภาษา C ทำ wrapper เพื่อติดต่อกับ OS เพื่อขอจองหน่วยความจำโดยตรง ปัญหาก็คือ การติดต่อกันระหว่างโปรแกรมของเรากับ OS เป็นไปอย่างหลวมๆ ถ้าโปรแกรมลืมบอก OS ว่าเลิกจองหน่วยความจำดังกล่าว หน่วยความจำนั้นก็จะถูกจองไปเรื่อยๆ เราจะเห็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วในตอนเช้า แต่พอตกบ่ายก็ช้าลงจนทำงานไม่ไหว จนสุดท้ายต้อง boot ใหม่ สาเหตุหลักของปัญหานี้คือ สิ่งที่เรียกว่าหน่วยความจำรั่ว หรือ Memory Leak

Source Program Nattida
#include
#include
main()
{
clrscr();
printf("Ms.Nattida Chuayurachon\n");
printf("Address : 150/2 M.11 T.Ladyai A.Meuang J.Samutsongkram 75000\n");
printf("Age : 18\n");
printf("Height : 158\n");
printf("Weigh : 47\n");
printf("Phone Number : 0839538977\n");
getch();
return 0;
}